จำนวนคนอ่านล่าสุด 1166 คน

พระคลองตะเคียน พระกรุอยุธยา พิมพ์ช่างหลวง


พระคลองตะเคียน พระกรุอยุธยา พิมพ์ช่างหลวง

พระคลองตะเคียน พระกรุอยุธยา พิมพ์ช่างหลวง

พระคลองตะเคียน พระกรุอยุธยา พิมพ์ช่างหลวง

พระคลองตะเคียน พระกรุอยุธยา พิมพ์ช่างหลวง

พระคลองตะเคียน พระกรุอยุธยา พิมพ์ช่างหลวง

พระคลองตะเคียน พระกรุอยุธยา พิมพ์ช่างหลวง

พระคลองตะเคียน พระกรุอยุธยา พิมพ์ช่างหลวง


รายละเอียด :

1111-2222พระในรูป พื้นสีขาว และพื้นสีฟ้า ไม่ใช่องค์ในบทความ

บทความ  ธรรมมณีแห่งเสน่ห์Amulet 17 ตุลาคม 2015 · มีการแก้ไข · 

"พระคลองตะเคียน พระกรุอยุธยา" พิมพ์ช่างหลวง
วัดขนาดมิติขององค์พระ
น้ำหนัก ขององค์พระ 36.0 กรัม(g)
ขนาด สูง 3.7 เซนติเมตร. กว้าง 1.8 เซนติเมตร, หนา 1.5 เซนติเมตร
ขออาราธนานำเข้าตรวจตามหลักวิทยาศาสตร์
และสามารถ ออกหนังสือรับรองพระแท้ ตามหลักวิทยาศาสร์
ด้วยเครื่อง XRF(X-Ray Fluoresence)
ผลสรุปการตรวจ Inductively Couple Plasma Optical Emission Spectroscopy (ICP-OES) และ X-Ray Fluoresence ในการตรวจสอบความบริสุทธิ์
การตรวจสอบด้วยเทคนิค X-Ray Fluorescence
Resuits of analysis : (%)
Auทองคำ (gold) 0.031 / -0.013
Ptแพลทินัม(Platinum) -0.029 / -0.076
Pdแพลเลเดียม (Palladium) 0.001 / 0.006
Agเงิน 0.007 / 0.009
Niนิกเกิล (Nickel) -0.006 / 0.046
Cuทองแดง (Copper) 74.35 / 76.77
Znสังกะสี (Zinc) 25.43 / 23.22
Coโคบอลต์ (อังกฤษ: Cobalt) 0.016 / -0.015
Crโครเมียม (Chromium) 0.006 / -0.013
Inอินเดียม (Indium) -0.001 / -0.005
Geเจอร์เมเนียม (Germanium) 0.031 / 0.024
Snดีบุก (Tin) 0.003 / 0.010
Pbตะกั่ว (Lead) 0.085 / 0.024
Fe เหล็ก (Iron ไอเอิร์น /ˈaɪ.ərn/) 0.033 / 0.013
Ruรูทีเนียม (Ruthenium) 0.018 / 0.014
Rhโรเดียม (Rhodium) 0.023 / 0.004
ตารางธาตุ
http://www.ptable.com/?lang=th
‘พระคลองตะเคียน’พระกรุอยุธยา กับข้อเท็จจริงที่ไม่เคยมีใครกล่าวถึง : พระกรุอยุธยา 
ตำบลคลองตะเคียน อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา >
จำนวนประชากรใน ตำบลคลองตะเคียน 
จำนวนหลังคาเรือน : 546 หลังคาเรือน 
จำนวนประชากร : 2,990 คน 
http://phranakhonsiayudhya.kapook.com/พระนครศรีอยุธยา/คลองตะเคียน
พระกรุคลองตะเคียน ในความคิดเห็นของผู้เขียนหมายถึง พระที่ขึ้นบริเวณลุ่มน้ำคลองตะเคียน อันประกอบด้วยพระ ๓ กลุ่ม ๓ วัด ดังนี้
๑.พระวัดโคกจินดา ซึ่งอยู่ในกลุ่มนิยม ประกอบด้วย พระกริ่งหน้าใหญ่ หน้าเล็ก และพระพิมพ์หน้ามงคล นอกจากนี้ยังพบพระพิมพ์ปิดตาหลากหลายพิมพ์ พิมพ์หน้าฤาษี ซึ่งกำหนดได้ตามศิลปะเฉพาะของวัดนี้ ตลอดจนเนื้อหา และที่สำคัญคือ ลายมือจารหวัดๆ ที่สวยงามลงตัว ซึ่งมีเอกลักษณ์เป็นลายมือเฉพาะของวัดนี้
๒.พระวัดสำเภาล่ม (วัดทำใหม่) ประกอบด้วย พระปิดตามหาอุตม์ และ พระพิมพ์สมาธิ ซึ่งมีลายมือจารเป็นตัวบรรจงสวยงาม แตกต่างจากวัดโคกจินดา อย่างชัดเจน
๓.พระกรุวัดช้าง ศิลปะจะด้อยกว่า ๒ วัดข้างต้น ลายมือจารค่อนข้างหวัด เส้นจารหนา ดูหยาบ ไม่สวยงามนัก แต่ก็ดูดุดันเข้มขลังไปอีกแบบ ที่สำคัญคือ เป็นพระยุคเดียวกันกับพระกริ่งคลองตะเคียน ทั้ง ๒ วัดข้างต้น มีพระกริ่ง พระงบน้ำอ้อย พระเม็ดน้อยหน่า ฯลฯ
***สรุปคือ พระทั้ง ๓ วัดนี้มีศิลปะคล้ายๆ กัน แต่พิมพ์ทรงแตกต่างกันชัดเจน และต้องเน้นว่า มีลายมือจารอันเป็นเอกลักษณ์ที่ต่างกัน
พระวัดโคกจินดาเข้มขลัง พิมพ์ทรงสวยงาม กรรมวิธีการสร้างซับซ้อน มีความประณีตสูงมาก
พระวัดสำเภาล่ม (วัดทำใหม่) มีความประณีตสูง ลายมือจารเป็นระเบียบสวยงาม
พระวัดช้าง ออกแนวชาวบ้านๆ แต่ก็มีเสน่ห์ เส้นสายลายมือค่อนข้างลึกและเขื่อง จารหวัดๆ ดูเข้มขลังดุดัน ค่านิยมในเวลานี้ค่อนข้างถูก แต่เป็นพระหาชมยาก ไม่แพ้พระที่สร้างจาก ๒ วัดข้างต้น อนาคตอาจมีราคาสูง
พระคลองตะเคียน ทั้ง ๓ วัด ล้วนเป็นพระที่สร้างในสมัยรัตนโกสินทร์ ทั้งสิ้น (สมัยรัชกาลที่ ๓-๕) ทั้งนี้เป็นเรื่องที่เซียนพระในพื้นที่รุ่นเก่าๆ ทราบกันดีอยู่แล้ว โดยเฉพาะความชัดเจนในพิมพ์ทรง เนื้อหา ตลอดจนลายมือจารที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
แต่ พระคลองตะเคียน กลับเป็นพระที่มักจะมีความสับสน และเข้าใจผิดในหมู่นักสะสมในหลายๆ ประการ ทั้งนี้ เนื่องจากพระคลองตะเคียนถูกกำหนดค่านิยมมาผิดๆ มาโดยตลอด จนกลายเป็นพระที่มักมีปัญหาในการสะสม หรือในงานประกวดหลายๆ งานที่ผ่านมา
เป็นต้นว่า ความสับสนในเรื่องพิมพ์ เรื่องเก๊-แท้ เรื่องผิดวัด ยัดกรุ (สวด) กันไปมาว่า องค์นี้ใช่ องค์นั้นไม่ใช่กริ่งคลองตะเคียน
สาเหตุมาจากแรกเริ่มเดิมที เซียนพระสมัยก่อนท่านจะเรียก “พระกริ่งเนื้อดินผสมผงใบลานวัดโคกจินดา” เกือบทุกพิมพ์ว่า “พระกริ่งคลองตะเคียน” เป็นหลักใหญ่
และมีการข้ามวัด ไปกำหนดพระปิดตากรุวัดทำใหม่ ตีรวมเข้าเป็น “พระกรุคลองตะเคียน” ส่วนพิมพ์อื่นๆ ของวัดทำใหม่ กลับไม่เล่นเป็นกรุคลองตะเคียน
ส่วนพระที่ขึ้น วัดช้าง ถูกตีเป็นพระยุคหลัง ล้อพิมพ์คลองตะเคียน มาอีกต่อหนึ่ง แม้แต่ พระวัดโคกจินดา เองบางพิมพ์ยังถูกตีเป็นพระยุคหลัง และยังมีการสร้างค่านิยมว่า “พระคลองตะเคียน เป็นพระที่ทหารหาญสมัยอยุธยา ใช้พกติดตัวต่อสู้กับข้าศึก” ฯลฯ
หรือเป็นพระที่พบตามพื้นดิน แม้แต่ในบริเวณที่เชื่อกันว่า เป็นสมรภูมิรบไทย-พม่า ก็ยังมีเป็นเรื่องราวประกอบผิด ๆ จนได้
ในการที่ผู้เขียนมีความคิดเห็นว่า ควรเรียก พระในบริเวณคลองตะเคียนทั้ง ๓ วัดนี้ว่า พระกรุคลองตะเคียน โดยเสนอข้อเท็จจริง ก็สืบเนื่องมาจากความวุ่นวายสับดังที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่งหากแยกเป็น ๓ กลุ่มดังนี้ จะเห็นถึงความชัดเจนในการสะสม และเพิ่มคุณค่าของพระกลุ่มนี้ให้มากยิ่งขึ้น
ข้อควรรู้เกี่ยวกับ “พระกริ่งคลองตะเคียน”
ความจริง “พระคลองตะเคียน” เป็นพระที่ทำแจกตามกำลังศรัทธา สืบทอดจากคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่ เช่นเดียวกับพระสมเด็จ วัดระฆัง ส่วน “พระคลองตะเคียน” ที่พบฝังในกรุจะมีเป็นส่วนน้อยมาก ส่วนใหญ่จะพบในเจดีย์สมัยรัตนโกสินทร์ ในเจดีย์องค์หนึ่งจะพบเพียง ๑-๒ องค์ แต่ความเคยชินกับ “พระคลองตะเคียน” ในฐานะพระกรุมีมาช้านาน จนเรียกกันติดปากไปแล้ว
หากพบจารเป็นตัวเลข ในพระกริ่งคลองตะเคียน มักจะพบตัวเลข ๓ และ๔ อยู่เสมอ สันนิษฐานว่า เป็นตัวย่อของคาถา ๓ คือ มะ อะ อุ ส่วนเลข ๔ คือ นะ มะ พะ ธะ ซึ่งเอกลักษณ์เฉพาะเช่นนี้ มีทั้งในพระกริ่งที่ขึ้นวัดโคกจินดา และวัดช้าง ด้วย
พระคลองตะเคียน ทุกๆ พิมพ์ จัดเป็นพระที่สูงส่งด้วยศิลปะและเนื้อหา พุทธคุณเป็นที่เลื่องลือกล่าวขานกันมาช้านาน ตลอดจนกรรมวิธีการสร้างที่ซับซ้อน เป็นเอกลักษณ์โดยเฉพาะของพระเครื่องที่มีความสมบูรณ์แบบมากที่สุดตระกูลหนึ่ง ที่สำคัญสุด คือ เป็นมรดกและความภาคภูมิใจอย่างยิ่งของชาว จ.พระนครศรีอยุธยา
โดย :: มโนมัย อัศวธีระนันท์ (pinprapa.com 
(ขอขอบพระคุณ “คุณเอ็ม คลองตะเคียน” ที่ให้ข้อมูล)
พระกริ่งคลองตะเคียน
สุดยอดแห่งพระกริ่งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นักเลงพระรุ่นไม่ว่าจะรุ่นเก่าหรือรุ่นใหม่ ก็ถวิลใฝ่ฝันหาอยากครอบครองกันทั้งนั้น .. เพระเนื่องจากทุกวันนี้สิ่งดีงามนี้ หายากได้เต็มที นานๆ จะหลุดมาให้เห็นกันแค่ไม่กี่่องค์ นอกนั้น .. เขาเก็บกันหมด องค์ีนี้ดูง่ายสบายตา สวยซึ้งจริง
พระกริ่งคลองตะเคียนเป็นพระยุครัตนโกสินตอนต้น เป็นพระแจกในยุคเก่าส่วนที่เหลือได้มีการนำมาบรรจุกรุไว้ พระที่แจกในยุคนั้นมีผู้ศรัทธาอาราธนาติดตัวแล้วมีประสปการณ์พุทธคุณในด้านคงกระพันธ์ชาตรี แทงฟันไม่เข้า
พระกริ่งคลองตะเคียนมีความพิเศษไม่เหมือพระเก่า/พระกรุอื่นๆตรงที่เป็นพระเนื้อดินผสมผงใบลาน บรรจุเม็ดกริ่งไว้ภายใน ด้านหลังมีการจารยันต์ เขียนด้วยภาษาขอมได้อย่างสวยงาม
‘พระคลองตะเคียน’พระกรุอยุธยาข้อเท็จจริงที่ไม่เคยมีใครพูดถึง
พระกรุคลองตะเคียน ในความคิดเห็นของผู้เขียนหมายถึง พระที่ขึ้นบริเวณลุ่มน้ำคลองตะเคียน อันประกอบด้วยพระ ๓ กลุ่ม ๓ วัด ดังนี้
๑.พระวัดโคกจินดา ซึ่งอยู่ในกลุ่มนิยม ประกอบด้วย พระกริ่งหน้าใหญ่ หน้าเล็ก และพระพิมพ์หน้ามงคล นอกจากนี้ยังพบพระพิมพ์ปิดตาหลากหลายพิมพ์ พิมพ์หน้าฤาษี ซึ่งกำหนดได้ตามศิลปะเฉพาะของวัดนี้ ตลอดจนเนื้อหา และที่สำคัญคือ ลายมือจารหวัดๆ ที่สวยงามลงตัว ซึ่งมีเอกลักษณ์เป็นลายมือเฉพาะของวัดนี้
๒.พระวัดสำเภาล่ม (วัดทำใหม่) ประกอบด้วย พระปิดตามหาอุตม์ และ พระพิมพ์สมาธิ ซึ่งมีลายมือจารเป็นตัวบรรจงสวยงาม แตกต่างจากวัดโคกจินดา อย่างชัดเจน
๓.พระกรุวัดช้าง ศิลปะจะด้อยกว่า ๒ วัดข้างต้น ลายมือจารค่อนข้างหวัด เส้นจารหนา ดูหยาบ ไม่สวยงามนัก แต่ก็ดูดุดันเข้มขลังไปอีกแบบ ที่สำคัญคือ เป็นพระยุคเดียวกันกับพระกริ่งคลองตะเคียน ทั้ง ๒ วัดข้างต้น มีพระกริ่ง พระงบน้ำอ้อย พระเม็ดน้อยหน่า ฯลฯ
สรุปคือ พระทั้ง ๓ วัดนี้มีศิลปะคล้ายๆ กัน แต่พิมพ์ทรงแตกต่างกันชัดเจน และต้องเน้นว่า มีลายมือจารอันเป็นเอกลักษณ์ที่ต่างกัน
พระวัดโคกจินดาเข้มขลัง พิมพ์ทรงสวยงาม กรรมวิธีการสร้างซับซ้อน มีความประณีตสูงมาก
พระวัดสำเภาล่ม (วัดทำใหม่) มีความประณีตสูง ลายมือจารเป็นระเบียบสวยงาม
พระวัดช้าง ออกแนวชาวบ้านๆ แต่ก็มีเสน่ห์ เส้นสายลายมือค่อนข้างลึกและเขื่อง จารหวัดๆ ดูเข้มขลังดุดัน ค่านิยมในเวลานี้ค่อนข้างถูก แต่เป็นพระหาชมยาก ไม่แพ้พระที่สร้างจาก ๒ วัดข้างต้น อนาคตอาจมีราคาสูง
พระคลองตะเคียน ทั้ง ๓ วัด ล้วนเป็นพระที่สร้างในสมัยรัตนโกสินทร์ ทั้งสิ้น (สมัยรัชกาลที่ ๓-๕) ทั้งนี้เป็นเรื่องที่เซียนพระในพื้นที่รุ่นเก่าๆ ทราบกันดีอยู่แล้ว โดยเฉพาะความชัดเจนในพิมพ์ทรง เนื้อหา ตลอดจนลายมือจารที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
แต่ พระคลองตะเคียน กลับเป็นพระที่มักจะมีความสับสน และเข้าใจผิดในหมู่นักสะสมในหลายๆ ประการ ทั้งนี้ เนื่องจากพระคลองตะเคียนถูกกำหนดค่านิยมมาผิดๆ มาโดยตลอด จนกลายเป็นพระที่มักมีปัญหาในการสะสม หรือในงานประกวดหลายๆ งานที่ผ่านมา
เป็นต้นว่า ความสับสนในเรื่องพิมพ์ เรื่องเก๊-แท้ เรื่องผิดวัด ยัดกรุ (สวด) กันไปมาว่า องค์นี้ใช่ องค์นั้นไม่ใช่กริ่งคลองตะเคียน
สาเหตุมาจากแรกเริ่มเดิมที เซียนพระสมัยก่อนท่านจะเรียก “พระกริ่งเนื้อดินผสมผงใบลานวัดโคกจินดา” เกือบทุกพิมพ์ว่า “พระกริ่งคลองตะเคียน” เป็นหลักใหญ่
และมีการข้ามวัด ไปกำหนดพระปิดตากรุวัดทำใหม่ ตีรวมเข้าเป็น “พระกรุคลองตะเคียน” ส่วนพิมพ์อื่นๆ ของวัดทำใหม่ กลับไม่เล่นเป็นกรุคลองตะเคียน
ส่วนพระที่ขึ้น วัดช้าง ถูกตีเป็นพระยุคหลัง ล้อพิมพ์คลองตะเคียน มาอีกต่อหนึ่ง แม้แต่ พระวัดโคกจินดา เองบางพิมพ์ยังถูกตีเป็นพระยุคหลัง และยังมีการสร้างค่านิยมว่า “พระคลองตะเคียน เป็นพระที่ทหารหาญสมัยอยุธยา ใช้พกติดตัวต่อสู้กับข้าศึก” ฯลฯ
หรือเป็นพระที่พบตามพื้นดิน แม้แต่ในบริเวณที่เชื่อกันว่า เป็นสมรภูมิรบไทย-พม่า ก็ยังมีเป็นเรื่องราวประกอบผิด ๆ จนได้
ในการที่ผู้เขียนมีความคิดเห็นว่า ควรเรียก พระในบริเวณคลองตะเคียนทั้ง ๓ วัดนี้ว่า พระกรุคลองตะเคียน โดยเสนอข้อเท็จจริง ก็สืบเนื่องมาจากความวุ่นวายสับดังที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่งหากแยกเป็น ๓ กลุ่มดังนี้ จะเห็นถึงความชัดเจนในการสะสม และเพิ่มคุณค่าของพระกลุ่มนี้ให้มากยิ่งขึ้น
ข้อควรรู้เกี่ยวกับ “พระกริ่งคลองตะเคียน”
ความจริง “พระคลองตะเคียน” เป็นพระที่ทำแจกตามกำลังศรัทธา สืบทอดจากคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่ เช่นเดียวกับพระสมเด็จ วัดระฆังฯ
ส่วน “พระคลองตะเคียน” ที่พบฝังในกรุจะมีเป็นส่วนน้อยมาก ส่วนใหญ่จะพบในเจดีย์สมัยรัตนโกสินทร์ ในเจดีย์องค์หนึ่งจะพบเพียง ๑-๒ องค์ แต่ความเคยชินกับ “พระคลองตะเคียน” ในฐานะพระกรุมีมาช้านาน จนเรียกกันติดปากไปแล้ว
หากพบจารเป็นตัวเลข ในพระกริ่งคลองตะเคียน มักจะพบตัวเลข ๓ และ๔ อยู่เสมอ สันนิษฐานว่า เป็นตัวย่อของคาถา ๓ คือ มะ อะ อุ ส่วนเลข ๔ คือ นะ มะ พะ ธะ ซึ่งเอกลักษณ์เฉพาะเช่นนี้ มีทั้งในพระกริ่งที่ขึ้นวัดโคกจินดา และวัดช้าง ด้วย
พระคลองตะเคียน ทุกๆ พิมพ์ จัดเป็นพระที่สูงส่งด้วยศิลปะและเนื้อหา พุทธคุณเป็นที่เลื่องลือกล่าวขานกันมาช้านาน ตลอดจนกรรมวิธีการสร้างที่ซับซ้อน เป็นเอกลักษณ์โดยเฉพาะของพระเครื่องที่มีความสมบูรณ์แบบมากที่สุดตระกูลหนึ่ง ที่สำคัญสุด คือ เป็นมรดกและความภาคภูมิใจอย่างยิ่งของชาว จ.พระนครศรีอยุธยา
(ขอขอบพระคุณ “คุณเอ็ม คลองตะเคียน” ที่ให้ข้อมูล)
‘พระคลองตะเคียน’พระกรุอยุธยา กับข้อเท็จจริงที่ไม่เคยมีใครกล่าวถึง : พระกรุอยุธยา โดยมโนมัย อัศวธีระนันท์ (pinprapa.com)
http://www.lanpothai.com/hiding-place/clay/643-pra-gring-klong-takiean.html
วัดกลางคลองตะเคียน พบเจ้าอาวาสและร่วมตามรอยประวัติศาสตร์
http://www.webwatklang.com/
https://www.facebook.com/อบตคลองตะเคียน-จพระนครศรีอยุธยา-706998722754270/
พระเครื่องกรุคลองตะเคียน
http://www.7wat.com/news,page,46,topic_id,content_pages

โทร: 

ราคา: 0 บาท

สถานะ: เปิดขาย