จำนวนคนอ่านล่าสุด 2350 คน

พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.ที่สร้าง 2397 เจาะสะโพกบรรจุกริ่ง จีวรดอกพิกุล


พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.ที่สร้าง 2397 เจาะสะโพกบรรจุกริ่ง จีวรดอกพิกุล

พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.ที่สร้าง 2397 เจาะสะโพกบรรจุกริ่ง จีวรดอกพิกุล

พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.ที่สร้าง 2397 เจาะสะโพกบรรจุกริ่ง จีวรดอกพิกุล


รายละเอียด :

พระกริ่งปวเรศ เจาะสะโพกบรรจุกริ่ง จีวรดอกพิกุลหล่อในตัว สวยสมบูรณ์ สังเกตุพระพักตร์จะดูอวบอิ่มมาก

พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข พ.ศ.ที่สร้าง 2397
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างวาระ พ.ศ.2397 พระกริ่งที่พบทุกองค์ผ่านการล้างผิวมาไม่มากนัก ทำให้อายุของวรรณะสีผิวความเก่า 157 ปีไม่สมบูรณ์
เมล็ดงาของพระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุขจะมีลักษณะปลายชี้ลงพื้น ลักษณะการตอกโค๊ตจะตอกเฉียงเข้าไปในเนื้อของพระกริ่ง เส้นสายริ่วรอยความคมชัดต่างๆขององค์พระกริ่งฯ จะมองเห็นได้ชัดเจนกว่าพระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2411 ในวาระ พ.ศ.2397 องค์นี้ก้นตัน ช่างหลวงกลุ่มนี้ยังคงใช้วิธีเทหล่อก้นตันและเจาะสะโพกด้านข้างเพื่อบรรจุกริ่ง เหมือนเช่น พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุขที่สร้างในวาระ พ.ศ.2394
พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างวาระ พ.ศ.2398 ในปีนี้ช่างหลวง(ช่างสิบหมู่) กลุ่มนี้ ยังคงใช้วิธีการหล่อก้นพระกริ่งตัน และมีการพัฒนารูปแบบการเจาะจากฐานพระกริ่งด้านใต้เพื่อบรรจุเม็ดกริ่ง และบางองค์เจาะข้างบัวด้านข้างและเจาะใต้ฐานพระกริ่งใน 1 องค์เจาะ 2 ตำแหน่งก็มีให้พบเห็น

พระกริ่งที่สร้างจากแม่พิมพ์นี้มีจำนวนไม่มากนัก เพื่อแจกจ่ายให้เจ้านายชั้นสูง และมีเก็บรักษาไว้ที่วัดบวรนิเวศน์ เพื่อใช้ทำน้ำพระพุทธมนต์ในเวลาต่อมาหนึ่งองค์ ต่อมาภายหลังได้เรียกชื่อพระกริ่งประจำรัชกาลพิมพ์อื่นๆ ที่สร้างตั้งแต่รัชสมัย ร.๔ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๓๙๔ จนถึงรัชสมัย ร.๕ ปีพ.ศ. ๒๔๓๔ ทั้งหมดว่าพระกริ่งปวเรศ (ส่วนนี้คงสัมพันธ์กับความต้องการของนักนิยมสะสมพระเครื่อง และเหตุผลเชิงพาณิชย์ด้วย) คำว่า ‘ ปวเรศ ’ นี้ เป็นพระนามย่อของพระปิ่นเกล้า เชื้อพระวงศ์สายวังหน้า จึงมีคำนี้อยู่ในพระราชทินนามต่อมา
 การสร้างพระกริ่ง และพระชัยวัฒน์ประจำรัชกาล เป็นพระราชประเพณีโบราณที่ถือปฏิบัติมา ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ในรัชสมัย ร.๔ นั้น สมเด็จพระปิ่นเกล้า (วังหน้า) ทรงเป็นผู้จัดสร้างพระกริ่ง โดยมีสมเด็จโตร่วมสร้างในส่วนฝ่ายสงฆ์ และร่วมทำพิธีพุทธาภิเษก รูปแบบพิมพ์ทรงของพระกริ่งมีความละเอียดปราณีตขึ้น
 หากพิจารณาลักษณะทางพุทธศิลป์ของพระกริ่งประจำรัชกาลที่นำรูปภาพมาแสดง จะเห็นว่าพระกริ่งที่จัดสร้างในสมัย ร.๓ จะมีขนาดค่อนข้างเล็ก รูปหน้าจะสั้นเป็นทรงกลมมน การหล่อพระกริ่งจะหล่อตันแล้วจึงเจาะรูฝังเม็ดกริ่งที่ด้านข้าง ตรงกึ่งกลางของฐานหลัง หลังเริ่มต้นรัชสมัย ร.๔ (พ.ศ. ๒๓๙๔) รูปทรงของพระกริ่งยังคงยึดตามรูปแบบของพระกริ่งสมัย ร.๓ ที่มีรูปหน้ากลมสั้น (ดังจะเห็นได้จากพระกริ่งพระธาตุพนม ในปี พ.ศ. ๒๔๐๑) แต่พิมพ์ทรงมีรายละเอียดงดงามขึ้น ต่อมาได้เริ่มปรับเปลี่ยนรูปทรงของพระกริ่งประจำรัชกาล จึงได้ปรับลักษณะของพระกริ่งให้มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยยึดรูปแบบจากพระกริ่งโบราณทรงจีนใหญ่ ด้านหลังของฐานจะมีทั้งแบบมีบัวและไม่มีบัว ตำแหน่งการเจาะรูฝังเม็ดกริ่งจะยังคงอยู่ที่ด้านข้างแต่เยื้องไปทางซีกขวาของฐานหลัง เริ่มมีการทำโค๊ดหล่อหรือตอกโค๊ดเม็ดงาที่ฐานหลัง สมเด็จโตมีส่วนร่วม(ฝ่ายสงฆ์)ในการจัดสร้างพระกริ่งและพระในรูปแบบอื่นๆด้วย ส่วนหนึ่งได้เก็บรักษาไว้ที่วังหน้าเรื่อยมาตลอดรัชสมัย ร.๔
ต่างกันอย่างไร
 พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข พ.ศ.ที่สร้าง 2434
กล่าวถึง พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข ที่มีการสร้างหลายวาระ คือ ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2394 ที่พบสร้างครั้งแรกจนกระทั่งถึงปี พ.ศ.2434 มีความแตกต่างหรือเหมือนกันเช่นไร?
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างวาระ พ.ศ.2394 พระกริ่งฯที่พบทุกองค์ผ่านการล้างผิวมาทั้งหมด ทำให้อายุของวรรณะสีผิวความเก่า 160 ปี ขาดหายไป
รูปพระกริ่งพิมพ์สมบูรณ์พูนสุขนั้นจะละม้ายคล้ายคลึงกัน ที่ต่างคือ รุ่น ปี พ.ศ.2394 เป็น รุ่นแรกของพิมพ์นี้ จะพบเห็นเมล็ดงาเม็ดใหญ่ปลายชี้ฟ้า เป็นโค๊ตบ่งบอกถึงวาระของปีที่สร้าง ก้นพระกริ่งตัน บรรจุเม็ดกริ่งด้วยการเจาะฐานบัวด้านบ้าง เทคนิคการตบแต่งยังสู้พระกริ่งปวเรศที่สร้างในวาระ พ.ศ.2411 ไม่ได้.
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างวาระ พ.ศ.2394 มีความแรง 32.5 เท่าของพระสมเด็จ 4 เหลี่ยมชิ้นฟักแบบทั่วๆไป ที่อธิฐานจิต โดยสมเด็จโต วัดระฆัง
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างวาระ พ.ศ.2397 พระกริ่งที่พบทุกองค์ผ่านการล้างผิวมาไม่มากนัก ทำให้อายุของวรรณะสีผิวความเก่า 157 ปีไม่สมบูรณ์
เมล็ดงาของพระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุขจะมีลักษณะปลายชี้ลงพื้น ลักษณะการตอกโค๊ตจะตอกเฉียงเข้าไปในเนื้อของพระกริ่ง เส้นสายริ่วรอยความคมชัดต่างๆขององค์พระกริ่งฯ จะมองเห็นได้ชัดเจนกว่าพระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2411 ในวาระ พ.ศ.2397 องค์นี้ก้นตัน ช่างหลวงกลุ่มนี้ยังคงใช้วิธีเทหล่อก้นตันและเจาะสะโพกด้านข้างเพื่อบรรจุกริ่ง เหมือนเช่น พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุขที่สร้างในวาระ พ.ศ.2394
พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างวาระ พ.ศ.2398 ในปีนี้ช่างหลวง(ช่างสิบหมู่) กลุ่มนี้ ยังคงใช้วิธีการหล่อก้นพระกริ่งตัน และมีการพัฒนารูปแบบการเจาะจากฐานพระกริ่งด้านใต้เพื่อบรรจุเม็ดกริ่ง และบางองค์เจาะข้างบัวด้านข้างและเจาะใต้ฐานพระกริ่งใน 1 องค์เจาะ 2 ตำแหน่งก็มีให้พบเห็น
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างวาระ พ.ศ.2410, พ.ศ.24111 พระกริ่งที่พบแทบจะทุกองค์มีฝีมือการตบแต่งปราณีตงดงามมาก โดยฝีมือของช่างสิบหมู่ที่พัฒนาฝีมือการตบแต่งขัดเกลา
 พระกริ่งปวเรศสององค์นี้บรรจุอยู่ด้านหลังของพระเนื้อผง จัดเป็นพระพิมพ์พิเศษพิมพ์หนึ่งที่ได้ฝังพระกริ่งปวเรศพิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างวาระ พ.ศ.2410
พระกริ่งปวเรศองค์นี้บรรจุในบาตรน้ำมนต์ฯ เป็นพระกริ่งปวเรศพิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างวาระ พ.ศ.2411
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างวาระ พ.ศ.2434 พระกริ่งที่พบแทบจะทุกองค์มีฝีมือการตบแต่งปราณีตงดงามเหมือน กับ สร้างวาระ พ.ศ.2411 เนื้อมวลสารโลหะส่วนผสมและการกลับดำอมน้ำตาลแดงใกล้เคียงกับ พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุขที่สร้างวาระ 2411 ไม่สามารถจำแนกด้วยตานอกได้ว่าสองวาระนี้เป็นการสร้างใน พ.ศ.ใด ยกเว้นดูด้วยตาในเท่านั้น
พระกริ่งปวเรศเป็นพระเครื่องที่สร้างด้วยมวลสารและเป็นการสร้างในพระราชพิธี ดีทุกประการ
พระเครื่อง...เหล่านี้ได้อธิษฐานไว้ ขอเป็นผู้รวบรวมเพื่อเป็นผู้สืบทอด ให้กับผู้มีบุญวาสนา ได้ครอบครองบูชา หรือเป็นผู้ส่งต่อสื่อกลางผ่านบุญให้ กับผู้ครอบครองเจ้าของเดิม ขณะที่ขออธิษบานจิต จิตรู้ตรึกขึ้นคิดขึ้นมาว่า วัตถุมงคลชั้นสูงเหล่านี้มีพุทธานุภาพไร้ขีดจำกัด (พลังเดิมๆเมื่อ พ.ศ.2382 ถึงปัจจุบัน) จะตั้งวางบูชาให้ผู้ได้รับสืบทอดอย่างไรจึงจะเหมาะสม ทั้งผู้ที่มีทรัพย์ และมีงบน้อยจะทำอย่าง ไร ได้ขออำนาขวาสนาบารมี พระผู้สร้างพระกริ่งปวเรศฯ เบื้องบน...ขอได้เมตตาสงเคราะห์แนะนำว่าควรตั้งวางให้บูชา ได้นิมิต สรุปเรื่องการให้การสืบทอด เมื่อนำมาพิจารณา วัตถุมงคลแต่ละชนิดแต่ละ อย่างล้วนแต่มีความสัมพันธิ์กันดี ที่ตั้งสมเหตุผล ทุกประการ ไม่ใช่ที่วงการพระเครื่องกำหนด กันที่ 7 - 8 หลัก เป็นการเหมาะ ที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่ศรัทธาเพื่อบูชาไม่ใช่หวังมีทรัพย์เงินทอง ชั่วข้ามคืน
http://wrsytc1.blogspot.com/2012/12/blog-post_9942.html
พระกริ่งปวเรศ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ โดยสร้างตามตำราที่ตกทอดมาจากสมเด็จพระพนรัต วัดป่าแก้ว สมัยอยุธยา ซึ่งเป็นพระอาจารย์ขององค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
พระกริ่งปวเรศ วัดบวรนิเวศ 2411 “พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข” เนื้อนวโลหะ
พระกริ่งปวเรศ 2411 พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข วัดบวรนิเวศ องค์นี้เป็นเนื้อนวโลหะ,หน้าผากหมุดทอง,ก้นทองลงยันต์ พระกริ่งปวเรศ รุ่นแรก พศ. 2411 นี้ มีการตบแต่งพิมพ์เป็นพิเศษ มีหน้าผากหมุดทองคำและก้นทองคำลงยันต์ ซึ่งสร้างน้อยเพียง สองร้อยกว่าองค์เท่านั้น เม็ดกริ่งเป็นมหาธาตุเหล็กไหล เป็นพระกริ่งสูงค่า พระกริ่งปวเรศ รุ่นแรก พศ. 2411 นี้ พระคณาจารย์สุดยอดในแผ่นดินยุคน้้นร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสก รวมทั้งสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี และหลวงปู่เทพโลกอุดร ร่วมอธิษฐานจิตด้วย พระรุ่นนี้มีพลังพุทธคุณอิทธิคุณครอบจักรวาล เด่นทางด้านเมตตามหานิยม คงกะพันชาตรี แคล้วคลาด ชอบช่วยเหลือผู้ปฏิบัติธรรม และให้มีจิตฝักใฝ่ ในการสร้างบุญ สร้างกุศล มีพุทธานุภาพไร้ขีดจำกัด เป็นพระกริ่งสูงค่าสำหรับผู้มีบุญวาสนาสูงสุดในแผ่นดิน พระกริ่งปวเรศ 2411 นี้ กำลังเป็นที่นิยม ใฝ่หา ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
พระกริ่งปวเรศ และพระชัยวัฒน์ phra kring
ความหมายหรือชื่อเรียกพระกริ่งปวเรศที่นักนิยมสะสมพระเครื่องรู้จักกัน คือพระกริ่งที่จัดสร้างขึ้น
 โดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ในปี พ.ศ. ๒๔๑๖ เพื่อใช้ทำน้ำพระพุทธมนต์ ในพิธีบรมราชาภิเษกของ ร.๕ ครั้งที่สอง เมื่อพระองค์มีพระชนมายุ
 ครบ 20 ปี หลังทรงลาสิกขาบทจากการอุปสมบทเป็นพระภิกษุตามราชประเพณีแล้ว (พระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรก เมื่อทรงขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. ๒๔๑๑ ขณะที่มีพระชนมายุได้ 15 ปี)
พระกริ่งที่สร้างจากแม่พิมพ์นี้มีจำนวนไม่มากนัก เพื่อแจกจ่ายให้เจ้านายชั้นสูง และมีเก็บรักษาไว้ที่วัดบวรนิเวศน์ เพื่อใช้ทำน้ำพระพุทธมนต์ในเวลาต่อมาหนึ่งองค์ ต่อมาภายหลังได้เรียกชื่อพระกริ่งประจำรัชกาลพิมพ์อื่นๆ ที่สร้างตั้งแต่รัชสมัย ร.๔ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๓๙๔ จนถึงรัชสมัย ร.๕ ปีพ.ศ. ๒๔๓๔ ทั้งหมดว่าพระกริ่งปวเรศ (ส่วนนี้คงสัมพันธ์กับความต้องการของนักนิยมสะสมพระเครื่อง และเหตุผลเชิงพาณิชย์ด้วย) คำว่า ‘ ปวเรศ ’ นี้ เป็นพระนามย่อของพระปิ่นเกล้า เชื้อพระวงศ์สายวังหน้า จึงมีคำนี้อยู่ในพระราชทินนามต่อมา
พระกริ่งปวเรศ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ โดยสร้างตามตำราที่ตกทอดมาจากสมเด็จพระพนรัต วัดป่าแก้ว สมัยอยุธยา ซึ่งเป็นพระอาจารย์ขององค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 พระกริ่งองค์นี้ได้แต่งองค์พระโดยด้านหน้าผากฝังหมุดทอง และฐานเป็นแผ่นทอง เป็นพระกริ่งที่เก็บไว้ที่กรุวังหน้า
 พระกริ่งองค์นี้เป็นต้นแบบพระกริ่งปวเรศ สร้างขึ้นในรัชสมัย ร.๔ ได้แต่งองค์พระโดยหน้าผากฝังหมุดทอง และฐานเป็นแผ่นทอง เป็นพระกริ่งที่เก็บไว้ที่กรุวังหน้า
การสร้างพระกริ่ง และพระชัยวัฒน์ประจำรัชกาล เป็นพระราชประเพณีโบราณที่ถือปฏิบัติมา ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ในรัชสมัย ร.๔ นั้น สมเด็จพระปิ่นเกล้า (วังหน้า) ทรงเป็นผู้จัดสร้างพระกริ่ง โดยมีสมเด็จโตร่วมสร้างในส่วนฝ่ายสงฆ์ และร่วมทำพิธีพุทธาภิเษก รูปแบบพิมพ์ทรงของพระกริ่งมีความละเอียดปราณีตขึ้น และต่อมาได้ปรับแต่งให้คล้ายพระกริ่งจีนใหญ่มากขึ้น มีพุทธศิลป์งดงามมากขึ้น จากนั้นได้สร้างพระกริ่ง และพระชัยวัฒน์ขึ้นในวาระต่าง ๆ หลายพิมพ์ทรงด้วยกัน ในรัชสมัย ร.๕ ในปี พ.ศ. ๒๔๑๑ การสร้างพระกริ่งและพระเครื่องอื่น ๆ ก็ยังมีวังหน้าเป็นผู้ดูแลการจัดสร้าง โดยมีสมเด็จโตร่วมในส่วนของฝ่ายสงฆ์ ได้นำพระกริ่งรุ่นเก่าที่สร้างตั้งแต่สมัย ร.๓ มาตกแต่งผิวใหม่ด้วยความปราณีตบรรจงอย่างยิ่ง (ดังที่ปรากฏตามรูปภาพที่แสดงไว้) ส่วนพระกริ่งที่สร้างขึ้นมาใหม่หลายๆพิมพ์ทรงก็มีความงดงามเป็นที่สุด ในวาระต่อมาสมเด็จโตได้มรณภาพ (ปี พ.ศ. ๒๔๑๕) การจัดสร้างพระกริ่งและพระชัยวัฒน์ในปี พ.ศ. ๒๔๑๖ จึงมีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (ขณะนั้นยังไม่ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมเด็จพระสังฆราช) ร่วมสร้างในส่วนฝ่ายสงฆ์แทนสมเด็จโต เรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ. ๒๔๓๔ (สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕)
หากพิจารณาลักษณะทางพุทธศิลป์ของพระกริ่งประจำรัชกาลที่นำรูปภาพมาแสดง จะเห็นว่าพระกริ่งที่จัดสร้างในสมัย ร.๓ จะมีขนาดค่อนข้างเล็ก รูปหน้าจะสั้นเป็นทรงกลมมน การหล่อพระกริ่งจะหล่อตันแล้วจึงเจาะรูฝังเม็ดกริ่งที่ด้านข้าง ตรงกึ่งกลางของฐานหลัง หลังเริ่มต้นรัชสมัย ร.๔ (พ.ศ. ๒๓๙๔) รูปทรงของพระกริ่งยังคงยึดตามรูปแบบของพระกริ่งสมัย ร.๓ ที่มีรูปหน้ากลมสั้น (ดังจะเห็นได้จากพระกริ่งพระธาตุพนม ในปี พ.ศ. ๒๔๐๑) แต่พิมพ์ทรงมีรายละเอียดงดงามขึ้น ต่อมาได้เริ่มปรับเปลี่ยนรูปทรงของพระกริ่งประจำรัชกาล จึงได้ปรับลักษณะของพระกริ่งให้มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยยึดรูปแบบจากพระกริ่งโบราณทรงจีนใหญ่ ด้านหลังของฐานจะมีทั้งแบบมีบัวและไม่มีบัว ตำแหน่งการเจาะรูฝังเม็ดกริ่งจะยังคงอยู่ที่ด้านข้างแต่เยื้องไปทางซีกขวาของฐานหลัง เริ่มมีการทำโค๊ดหล่อหรือตอกโค๊ดเม็ดงาที่ฐานหลัง สมเด็จโตมีส่วนร่วม(ฝ่ายสงฆ์)ในการจัดสร้างพระกริ่งและพระในรูปแบบอื่นๆด้วย ส่วนหนึ่งได้เก็บรักษาไว้ที่วังหน้าเรื่อยมาตลอดรัชสมัย ร.๔ เมื่อเริ่มรัชสมัย ร.๕ (พ.ศ. ๒๔๑๑) การสร้างพระกริ่งจะมีรูปแบบพิมพ์ทรงหลากหลายมากขึ้นเนื่องจากมีเวลาในการจัดเตรียมพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งที่สองนานถึง ๕ ปี (ตั้งแต่พ.ศ. ๒๔๑๑ ถึงพ.ศ. ๒๔๑๖) การเจาะรูเพื่อฝังเม็ดกริ่งได้เปลี่ยนมาเจาะรูที่ใต้ฐานแทน สมเด็จโตได้มรณภาพ (พ.ศ. ๒๔๑๕) ก่อนพระราชพิธีครั้งที่สอง สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ รับช่วงการสร้างพระกริ่งต่อในรัชสมัย ร.๕ พระองค์ท่านจึงให้สร้างแบบพระกริ่งปวเรศขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๑๖ และสร้างแบบพระกริ่งใหม่อีกครั้งในปีพ.ศ. ๒๔๓๔
รูปพระกริ่ง และพระชัยวัฒน์ที่นำมาแสดงในเวบนี้ เป็นพระที่ได้รับการตกแต่งผิวองค์พระเป็นพิเศษให้งดงามยิ่งขึ้น สมกับเป็นพระเครื่องของเจ้านายชั้นสูง เคยเก็บรักษาไว้ที่วังหน้า พระที่ตกแต่งเป็นพิเศษนี้ มีจำนวนน้อยกว่าพิมพ์ทรงธรรมดาทั่วไปมาก จึงเป็นพระกริ่งและพระชัยวัฒน์ที่ทรงคุณค่าทางพุทธศิลป์ที่หายาก จึงได้นำแสดงให้ผู้ที่สนใจได้ร่วมชื่นชม
https://royalbuddhasiam.wordpress.com/…/%e0%b8%9e%e0%b8%a3…/
http://dr-natachai.blogspot.com/2011/07/85-2411-2434.html
http://wrsytc1.blogspot.com/2012/12/9.html

Translate           2015-07-16

 

 

โทร: 

สถานะ: โทรถาม