โชว์//พระกริ่งปวเรศ เนื้อเงิน สเตอร์ริ่งซิลเวอร์AG91.78%กริ่งเหล็กไหล พ.ศ.2434พิมพ์บารมีแผ่ไพศาล PRA GING PAOWALED Sterling Silver (THAILAND ART)ํYEAR 1868-1891มีใบตรวจสอบโลหะเงินAG91.78%
รายละเอียด :
11478//3733/amulets immotal3733//11478
4.พระกริ่งปวเรศ วัดบวรนิเวศ เนื้อสเตอร์ริงซิลเวอร์ ปี พ.ศ.2411-พ.ศ.2434 โค๊ด ปลายเม็ดดงาจะชี้ขึ้นมีไส้ หริอ โค๊ต หยดน้ำ
Bachelor's ice ring gauge Sterling Silver beef Bowonniwet year 2411- 2434 code to point up the poppy seed filling the creeks code drops.
本科冰环规纯银牛肉Bowonniwet这个年2411- 2434代码指向了罂粟种子填充小溪代码下降。
***药师佛, 藥師佛 พระกริ่งปวเรศ เนื้อเงินAG91.78%กริ่งเหล็กไหล PRA GING PAOWALED (THAILAND ART)ํYEAR 1868-1891
พระกริ่งปวเรศองค์นี้มีใบตรวจสอบโลหะเงินAG91.78%
โทร: 092-873-2628
*****พระกริ่งปวเรศ เนื้อเงิน กริ่งเหล็กไหลดัง ขนาด20X40มิล PRA GING PAOWALED (THAILAND ART)ํYEAR 1868-1891 药师佛, 藥師佛
พระกริ่งปวเรศ วัดบวรนิเวศ เนื้อสเตอร์ริงซิลเวอร์ ปี พ.ศ.2411-พ.ศ.2434 โค๊ด ปลายเม็ดดงาจะชี้ขึ้นมีไส้ หริอ โค๊ต หยดน้ำ องค์นี้ตอกได้สวยสมบูรณ์แบบ อาจจะเรียกได้ว่าเป็นองค์ครู ก็ว่าได้ สวยงามไร้ที่ติ สร้างจากเหรียญเงินยุโรป ผิวออกสีเทาๆ ไม่ดำ องค์นี้ สวยงาม งานฝีมือสมบูรณ์แบบ เม็ดพระศกตอกได้คมชัดลึกทุกเม็ด ฐานบัวสวยคมเป็นสัน มีมิติ และเนื้อสเตอร์ริงซิลเวอร์ ถือเป็นเนื้อที่หายากที่สุด พิมพ์ทรงนี้อาจมีแค่ไม่เกิน 10 องค์ จึงถือเป็นที่สุดของพระกริ่งปวเรศ และ เนื่องจากเป็นเงินยุโรป เก็บไว้นานแค่ไหนพระก็ไม่ดำไปกว่านี้
*พุทธศิลป์ สวยงาม ทรงคุณค่า ทางประวัติศาสตร์ จากอดีต ถึงปัจจุปัน โดย ช่างสิบหมู่ ชั้นครู
*พุทธคุณ ดีครบทุกด้าน
*พระกริ่งปวเรศ เป็นพระที่หล่อเบ้าดินเผาแบบประกบสร้างทีละองค์ แล้วนำมาแต่งโดยช่างหลวง (มีการสร้าง หลายพิมพ์ หลายวาระ)
*สำหรับพระกริ่งปวเรศ เนื้อสเตอร์ริงซิลเวอร์ และ เนื้อทองคำ ท่านผู้ให้สร้างพระกริ่งปวเรศ เป็นไวยาวัจกร และ กลุ่มศิษยานุศิษย์ของหลวงปู่กรมพระยาปวเรศ
ปีที่สร้างคือ ปี พ.ศ.2434 สร้างที่ทวีปยุโรป (ประเทศฝรั่งเศษ อาจจะมีประเทศอังกฤษ และ ประเทศอิตาลี ด้วย)
เรื่องของเนื้อ จะประกอบไปด้วยเนื้อเงินสเตอร์ริงเป็นหลักใหญ่ครับ
*****จากวิถีพีเดีย สารานุกรมเสรี
*****พระกริ่งปวเรศ เป็นพระกริ่งที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์โปรดให้สร้างขึ้น มีพระพุทธรูปลักษณะ ปางหมอยา เป็นชื่อเรียกพระกริ่งที่สร้างโดยฝีมือของช่างสิบหมู่ หรือ ช่างหลวง ตั้งแต่ พ.ศ. 2382 - พ.ศ. 2434 ในอาณาจักรพระเครื่องรางที่นับถือว่ามีอานุภาพขลังศักดิ์สิทธิ์เป็นที่รู้จักแพร่หลายในหมู่นักนิยมพระเครื่องตั้งแต่ในสมัยรัชกาลที่ 4 สืบมาถึงปัจจุบัน มีราคาซื้อขายสูงที่สุดในประเภทพระโลหะ การสร้างมีพิธีพระพุทธาภิเษก และมีพิธีโหร พิธีพราหมณ์ และพิธีบวงสรวงอัญเชิญเทพเทวาพระเบื้องบนมาช่วยร่วมพิธีกรรมต่างๆ
*****ประวัติการสร้างพระกริ่งปวเรศ[แก้]
พระกริ่งในสมัยรัตนโกสินทร์เริ่มสร้างที่มีความโดดเด่นมากในยุคสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2382 จัดได้ว่าเป็นพระกริ่งยุคเริ่มบุกเบิกและมีพลังพุทธนุภาพแรงที่สุด พระกริ่งปวเรศเริ่มมีชื่อเสียงในวงแคบๆตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมาถึงยุคของรัชกาลที่ 5 พระกริ่งที่โด่งดังในอดีตล้วนแต่เป็นพระกริ่งที่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ร่วมอธิษฐานจิต เนื่องจากพระกริ่ง และพระกริ่งปวเรศมีจำนวนการสร้างมากแต่จำนวนเกือบทั้งหมดถูกเก็บรักษาไว้ในกรุของวัดพระแก้ว (วัดพระศรีรัตนศาสดาราม) ทำให้บุคคลทั่วๆไปในยุคหลังสมัยรัชกาลที่ 5 แทบไม่เคยพบเห็นและรู้จัก
*****ภาพรวมของพระกริ่งปวเรศแบ่งออกเป็น 5 ยุค ดังต่อไปนี้
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องวังหน้า ยุคที่ 1 เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2394 ถึง พ.ศ. 2408 ในสมัยของ รัชกาลที่ 4 มีพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระบาทสมเด็จฯปวเรศ), ตำแหน่ง วังหน้าและ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ร่วมอธิษฐานจิต
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องวังหน้า ยุคที่ 2 เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2408 ถึง พ.ศ. 2411 ในสมัยของ รัชกาลที่ 4 ตำแหน่ง วังหน้า ว่างเว้น และ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ร่วมอธิษฐานจิต
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องวังหน้า ยุคที่ 3 เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 24011 ถึง พ.ศ. 2415 ในสมัยของ รัชกาลที่ 5 กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ตำแหน่ง วังหน้าองค์สุดท้าย และ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ร่วมอธิษฐานจิต
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องวังหน้า ยุคที่ 4 เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2415 ถึง พ.ศ. 2428 ในสมัยของ รัชกาลที่ 5 กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ตำแหน่ง วังหน้าองค์สุดท้าย
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องวังหน้า ยุคที่ 5 เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2428 ถึง พ.ศ. 2435 ในสมัยของ รัชกาลที่ 5 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เนื่องจากไม่มีตำแหน่งวังหน้า ผู้ที่มีอาวุโสของพระญาติวังหน้า จึงได้มีบทบาทสำคัญยุคสุดท้ายของพระกริ่งวังหน้าในยุคที่ 5
*****ความเชื่อและคตินิยม[แก้]
1.สำหรับความเชื่อในเรื่อง เครื่องราง ของคนไทย มีมาแต่ครั้งโบราณ ดังจะเห็นได้ในวรรณกรรมที่มีการกล่าวถึงอยู่เสมอๆ โดยเฉพาะ เครื่องราง ที่นักรบใช้ติดตัวในยามออกศึกสงคราม เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้ห้าวหาญไม่เกรงคลัวข้าศึก โดยเชื่อกันว่า เครื่องราง ที่สร้างขึ้นด้วยวิชาไสยศาสตร์ชั้นสูง โดยพระเกจิอาจารย์ผู้มีวิชาอาคมอันเข้มขลัง จะสามารถช่วยคุ้มครองป้องกันภัยรอบตัวได้เป็นอย่างดี [3]
2.ปัจจุบันนิยมนำมาห้อยคอเป็นเครื่องรางสำหรับคุ้มครองป้องกันและเพื่อความเจริญรุ่งเรืองในชีวิต[4]
3.อาราธนาทำ น้ำมนต์ เมื่อเวลาเรารู้สึกดวงไม่ดี มีเคราะห์ หรือเจ็บป่วย นำพระกริ่งปวเรศ หรือพระกริ่ง (องค์แทนพระพุทธเจ้าไภษัชยคุรุไวฑูรย์ประภาสพุทธเจ้า) [5] อาราธนาบารมีของพระองค์ท่านทำน้ำพระพุทธมนต์ ดื่ม รด อาบ กินเพื่อความสวัสดี มีชัยปราศจากโรคภัยและกำจัดปัดเป่าอัปมงคล อันตราย ภัยพิบัติต่างๆ [6]
มวลสารพระกริ่งปวเรศ[แก้]
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ วัดบวรนิเวศวิหาร สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 เคยมีดำรัสถึงเรื่องพระกริ่งปวเรศนี้ว่า ตำราการสร้างพระกริ่งและตำรามงคลโลหะ ที่มีมาแต่โบราณสืบค้นได้ถึงสมัยสมเด็จพระพนรัตนวัดป่าแก้ว[7] ท่านอาจารย์ตรียัมปวาย ได้กล่าวถึงเรื่องพระกริ่งปวเรศไว้ดังนี้ "พระกริ่งปวเรศที่คนโบราณเขานิยมกันนั้น มีอยู่เนื้อเดียว คือเนื้อนวโลหะผิวกลับดำ เมื่อขัดเนื้อในจะเป็นสีจำปาเทศ และเมื่อทิ้งไว้ถูกกับอากาศจะกลับดำอีกครั้งหนึ่งในเวลาไม่นาน[8] เนื้อนวโลหะ ประกอบไปด้วย โลหะ 9 อย่างได้แก่ ทองคำ เงิน ทองแดง จ้าวน้ำเงิน(พลวง) เหล็กละลายตัว ชิน(ตะกั่ว+ดีบุก) ตะกั่วน้ำนม ปรอท สังกะสี[9]
โทร: 061-490-1584
ราคา: 0 บาท
หมวดพระ: พระยอดนิยมทั่วไป-พระกริ่ง-ลอยองค์-รูปหล่อ